[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
หลักสูตรที่เปิดสอน

NyAkBl.jpg

NyA3qk.jpg

NyA98v.jpg

NyAt7E.jpg

NyAwgN.jpg

NyA12V.jpg

NyAKFQ.jpg

ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ (ตัวแสดงอารมณ์)
แปลภาษาจาก google
ป้อนข้อความ :

พยากรณ์อากาศ
 
ค้นหาจาก google
QRCode

59328087_428468474382055_2985555548407070720_n.jpg

สถิติผู้เยี่ยมชม

 เริ่มนับ 9/ก.พ./2559
ผู้ใช้งานขณะนี้ 16 IP
ขณะนี้
16 คน
สถิติวันนี้
1392 คน
สถิติเมื่อวานนี้ี้
1869 คน
สถิติเดือนนี้
3261 คน
สถิติปีนี้
192261 คน
สถิติทั้งหมด
960111 คน
IP ของท่านคือ 3.144.154.208
(Show/hide IP)

  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
การติดต่อและการแพร่เชื้อของโรคฝีดาษลิง   VIEW : 102    
โดย miiiimii

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 7
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 2
Exp : 25%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 1.47.10.xxx

 
เมื่อ : พุธ ที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 เวลา 11:44:52   

การติดต่อและการแพร่เชื้อของโรคฝีดาษลิง 
                  การติดต่อจากสัตว์สู่คน  ฝีดาษลิง ติดต่อได้จากการสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หรือแผลของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือการกินเนื้อสัตว์ติดเชื้อที่ไม่ปรุงสุก โดยในทวีปแอฟริกาพบโรคฝีดาษลิงในกลุ่มสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนู และลิงบางชนิด แหล่งรังโรคตามธรรมชาติยังไม่ชัดเจนแต่มีความเป็นไปได้สูงที่สุดที่จะเป็นกลุ่มสัตว์ฟันแทะ การติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ ฝีดาษลิงติดต่อจากมนุษย์ เกิดจากการสัมผัสสารคัดหลั่งทางเดินหายใจจากผู้ติดเชื้อ บาดแผล หรือสิ่งของที่ผู้ติดเชื้อสัมผัส การติดเชื้อผ่านละอองฝอยมักต้องใช้เวลาในการสัมผัสตัวต่อตัว จึงทำให้บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่อยู่อาศัยร่วมกับผู้ติดเชื้อเพิ่มโอกาสติดเชื้อมากขึ้น มีโอกาสติดเชื้อจากมารดาสู่ทารกผ่านทางรกหรือระหว่างคลอด สล็อต


                     โรคฝีดาษ ติดต่อทางเพศสัมพันธ์หรือไม่ ยังไม่มีการยืนยันว่าโรคฝีดาษลิงสามารถติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้หรือไม่ แต่ระยะหลังพบผู้ติดเชื้อที่เป็นกลุ่มชายรักร่วมเพศจำนวนมากซึ่งมีรอยโรคบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์และใกล้อวัยวะสืบพันธุ์ จึงทำให้มีการคาดการณ์ว่าโรคฝีดาษลิงสามารถติดต่อทางเพศสัมพันธ์หรือจากการสัมผัสใกล้ชิดระหว่างกิจกรรมทางเพศได้ โอกาสการเกิดโรค และ กลุ่มเสี่ยงโรคฝีดาษลิงจากลักษณะของการติดต่อ ผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อฝีดาษลิงมาก คือผู้ที่อาศัยหรือมีการเดินทางเข้าไปในพื้นที่ที่มีการระบาด เช่น ในประเทศแถบแอฟริกาผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดกับสัตว์หรือผู้ป่วยที่ติดเชื้อบุคลากรทางการแพทย์ผู้อยู่อาศัยร่วมกับผู้ติดเชื้อผู้ที่มีกิจกรรมทางเพศกับผู้ติดเชื้อผู้อาศัยติดเขตป่ามีโอกาสสัมผัสกับสัตว์ติดเชื้อมากขึ้นแต่ความเสี่ยงในการแพร่เชื้อในลักษณะอื่นยังมีอัตราต่ำ


                      ความรุนแรงของโรคและอัตราการเสียชีวิตแม้จะมีลักษณะและอาการคล้ายโรคฝีดาษ แต่ฝีดาษลิงมักมีความรุนแรงของโรคต่ำกว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักหายได้เองภายใน 2-4 สัปดาห์ อัตราการเสียชีวิตโดยรวมอยู่ที่ประมาณ 0-11% ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเด็ก ยิ่งไปกว่านั้น ในช่วงหลัง อัตราการเสียชีวิตลดลงเป็น 3-6% โดยผู้ที่มีความเสี่ยงมากขึ้น คือ เด็ก วัยรุ่น และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เนื่องจากประชาชนวัยผู้ใหญ่บางส่วนเคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคฝีดาษมาก่อน ซึ่งมีส่วนช่วยป้องกันโรคฝีดาษลิงได้ สล็อตออนไลน์


                   การวินิจฉัยโรคฝีดาษลิงผู้ป่วยที่มีผื่น ควรได้รับการแยกจากโรคอื่นๆ เช่น ฝีดาษ สุกใส หิด ซิฟิลิส การติดเชื้อทางผิวหนัง และอาการแพ้ยาอื่นๆ อาการต่อมน้ำเหลืองโตจะช่วยบ่งชี้โรคฝีดาษลิงจากโรคฝีดาษและสุกใสได้ การวินิจฉัยที่แน่นอนทำได้โดยแพทย์ส่งสิ่งส่งตรวจ (แนะนำให้เป็นรอยโรคทางผิวหนังหรือของเหลวจากตุ่มน้ำ) ไปทำ Polymerase Chain Reaction (PCR) โดยมีขั้นตอนการเก็บและส่งต่อสิ่งส่งตรวจอย่างเหมาะสม และต้องระบุอาการและระยะเวลาการเกิดโรคของผู้ป่วยพร้อมสิ่งส่งตรวจด้วย ผู้ที่เคยได้รับวัคซีนจากเชื้อในกลุ่มนี้มาก่อนอาจมีผลบวกลวงได้ สล็อต pg







Re หัวข้อ :
รูปประกอบ : จำกัดขนาด 100 KB *เฉพาะไฟล์ .jpg, .jpeg, .gif หรือ .png เท่านั้น
รายละเอียด :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ชื่อของท่าน :
 

NyPCkn.png NyPuOg.png NyP6aW.png NyP8x1.png NyPH6y.png NyPXWD.png NyPaK9.png